"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
หน่วย : ท่องโลกคณิศาสตร์
เป้าหมายความเข้าใจ :
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการสร้างโครงสร้างระบบจำนวนและมองเห็นความเชื่อมโยงของจำนวนต่างๆ
สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่นำเลขยกกำลังไปประยุกต์ใช้ และสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์รวมทั้งในชีวิตประจำวันได้
ปฏิทินการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้น ม.1 Quarter 1 ปีการศึกษา 2559
Quarter
|
สัปดาห์
|
สาระ/เนื้อหา
|
จำนวนชั่วโมงเรียน
|
1
|
1
|
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
4
|
สร้างข้อตกลงร่วมกัน
|
|||
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
|
|||
สรุปความเข้าใจก่อนเรียน
|
|||
2
|
จำนวนและการดำเนินการ
|
4
|
|
เกมการคิด
|
|||
โครงสร้างระบบจำนวน
|
|||
ระบบจำนวนเต็ม
|
|||
การดำเนินการระบบจำนวนเต็ม
|
|||
3
|
เลขยกกำลัง
|
4
|
|
การประยุกต์ของจำนวนเต็มและ เลขยกกำลัง
|
|||
การดำเนินการเลขยกกำลัง
|
|||
4
|
พื้นฐานทางเรขาคณิต
|
4
|
|
จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสีและมุม
|
|||
5-6
|
ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต 2 มิติและ 3 มิติ
|
8
|
|
การประยุกต์ทางเรขาคณิต
|
|||
7-8
|
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
|
8
|
|
การแก้สมการ
|
|||
โจทย์ปัญหา
|
|||
9
|
แบบรูปและความสัมพันธ์
|
4
|
|
10
|
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
4
|
|
ทบทวน
|
|||
สรุปองค์ความรู้
(หลังเรียน)
|
ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์
ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
Key Questions
- นักเรียนมีวิธีการคิดอย่างไร
- นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องเดิมอะไรบ้าง?
ต้องการเรียนรู้เรื่องไหนเพิ่มเติมบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show
and Share
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน / ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผนโจทย์การคิด
|
- ครูพาเล่นเกม 24
-
ครูเขียน(ติดโจทย์)โจทย์ฝีกทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์
“นักเรียนช่วยคุณครูบอกเหตุผลทางตรรกศาสตร์เกี่ยวกับโจทย์ข้อนี้?
คือมีเหตุผลอย่างไร และทำไมจึงเป็นเช่นนั้น?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องเดิมอะไรบ้าง? ต้องการเรียนรู้เรื่องไหนเพิ่มเติมบ้าง?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้
(ก่อนเรียน)
|
ภาระงาน
- หาวิธีคิดที่แตกต่าง
- ทำสรุปความเข้าใจก่อนเรียนคณิตศาสตร์
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- สรุปความเข้าใจ
(ก่อนเรียน)
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและได้ทบทวนทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
เพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหาและต่อยอดการเรียนรู้ รวมทั้งนักเรียนนำมาความรู้มาปรับใช้ได้จริง
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ
ม.1/6
|
||||
2 - 5 |
โจทย์
โครงสร้างระบบจำนวน
Key Question
เลขตัวใดบ้าง
จะจัดอยู่กลุ่มเดียวกัน
เครื่องมือคิด
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ชุดตัวเลข / เกมตัวเลขแสนกล
- เส้นจำนวน /ผังโครงสร้างจำนวน
|
- เล่นเกมการคิดทางคณิตศาสตร์ นับเลขอันตราย
-
จัดหมวดหมู่ตัวเลขที่ครูจัดเตรียมไว้บนกระดาน
- จัดหมวดหมู่และสร้างโครงสร้างระบบจำนวน
- นำเสนอให้เพื่อนและครูฟัง
- นักเรียนแต่ละคนอธิบายความเข้าใจในโครงสร้างดังกล่าว
- ให้การบ้านฝากนักเรียนทุกคนไปทบทวนระบบโครงสร้างจำนวน (การสร้างเส้นจำนวน , จำนวนตรรกยะกับจำนวนอตรรกยะ)
|
ภาระงาน
- นักเรียนช่วยกันคิดตัวเลข
- การจัดหมวดหมู่และสร้างโครงสร้างระบบจำนวน
- การนำเสนอและให้เหตุเหตุผลประกอบ
ชิ้นงาน
- ใบงาน
- ทำงานลงสมุด ระบบจำนวน
|
ความรู้
มีความเข้าใจหลักการสร้างโครงสร้างระบบจำนวนและสามารถอธิบายถึงความสัมพันธ์ของการดำเนินการทางจำนวนได้
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ม.2/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง และการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ม.1/3
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้ : ตัวชี้วัด ม.2/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6 |
||||
6 - 8 |
โจทย์
เลขยกกำลัง
Key Questions
- จะเขียนตัวเลขชุดนี้
4, 9, 16, 25, … ให้อยู่ในรูปแบบอื่นจะเขียนได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ชุดตัวเลข / เกม
|
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวน
- นักเรียนพับกระดาษแล้วหาความสัมพันธ์ที่เกิดจากจำนวนครั้งที่พับกับจำนวนรูปสี่เหลี่ยมที่ได้จากการพับแต่ละครั้ง
- พานักเรียนเรียนฝึกทำโจทย์การคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากโจทย์ที่กำหนดให้นักเรียนมีวิธีคิดอย่างไร?”
- พานักเรียนเรียนฝึกทำโจทย์การคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากโจทย์ที่กำหนดให้นักเรียนมีวิธีคิดอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนจัดระบบข้อมูลวิธีคิดจะพบตัวเลข 4,
9, 16, 25,...
- ครูพานักเรียนหาแบบรูปของวิธีคิดเพื่อโยงเข้าสู่กิจกรรมเลขยกกำลัง
-
ครูให้นักเรียนทำโจทย์เกี่ยวกับเลขยกกำลัง(ที่ท้าทายมากขึ้นๆ)
|
ภาระงาน
- ทบทวนกิจกรรม
- แก้โจทยัญหาเลขยกกำลัง
-
นักเรียนทำชาร์ตความรู้เลขยกกำลัง
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เลขยกกำลัง
- ใบงานเลขยกกำลัง
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการแก้ปัญหาเลขยกกำลัง
การใช้สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ม.1/2
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง และการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด ม.1/3 มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6 |